IP Address คือ และมี กี่คลาส
By : Illyasviel von EinzbernIP Address คือ
IP Address ย่อมาจากคำเต็มว่า Internet Protocal Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP
ถ้าเปรียบเทียบก็คือบ้านเลขที่ของเรานั่นเอง ในระบบเครือข่าย จำเป็นจะต้องมีหมายเลข IP กำหนดไว้ให้กับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องการ IP ทั้งนี้เวลามีการโอนย้ายข้อมูล หรือสั่งงานใดๆ จะสามารถทราบตำแหน่งของเครื่องที่เราต้องการส่งข้อมูลไป จะได้ไม่ผิดพลาดเวลาส่งข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1
โดยการทำงานภายใน IP Address ยังมีการแบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ต่าง ๆ 5 Class
IP Address ย่อมาจากคำเต็มว่า Internet Protocal Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในระบบเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP
ถ้าเปรียบเทียบก็คือบ้านเลขที่ของเรานั่นเอง ในระบบเครือข่าย จำเป็นจะต้องมีหมายเลข IP กำหนดไว้ให้กับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องการ IP ทั้งนี้เวลามีการโอนย้ายข้อมูล หรือสั่งงานใดๆ จะสามารถทราบตำแหน่งของเครื่องที่เราต้องการส่งข้อมูลไป จะได้ไม่ผิดพลาดเวลาส่งข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1
โดยการทำงานภายใน IP Address ยังมีการแบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ต่าง ๆ 5 Class
Class A: หมายเลขของ IP Address เริ่มตั้งแต่ 1.0.0.0-127.255.255.255 ซึ่งเหมาะสมสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่ เนื่องจากสามารถรองรับจะมีเครือข่ายได้ 126 เน็ตเวิร์ค และในแต่ละเครือข่ายสามารถมีเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ประมาณ 16 ล้านเครื่อง ตัวอย่างเช่น ค่า IP Address ของ Class A เป็น 120.25.2.3 หมายถึง เครือข่าย 120 หมายเลขเครื่อง 25.2.3
Class B: หมายเลขของ IP Address เริ่มตั้งแต่ 128.0.0.0-191.255.255.255 จะมีเครือข่ายขนาด 16384 เน็ตเวิร์ค และจำนวนเครื่องลูกข่ายในเครือข่ายได้ 64,516 เครื่อง ตัวอย่างเช่น ค่า IP Address ของ Class B เป็น 145.147.45.2 หมายถึง เครือข่าย 145.147 หมายเลขเครื่อง 45.2
Class C: หมายเลขของ IP Address เริ่มตั้งแต่ 192.0.0.0-223.255.255.255 จะมีจำนวนเครือข่ายขนาด 2M+ เน็ตเวิร์ค และเครื่องลูกข่ายในแต่ละเครือข่ายได้ประมาณ 254 เครื่อง ตัวอย่างเช่น ค่า IP Address ของ Class C เป็น 202.28.10.5 หมายถึง หมายเลขเครือข่าย 202.28.10 หมายเลขเครื่อง 5
Class D:เป็นการสำรองหมายเลข IP Address ช่วง 224.0.0.0-239.255.255.255 สำหรับการส่งข้อมูลแบบ Multicast ซึ่งจะไม่มีการแจกจ่ายใช้งานทั่วไปสำหรับบุคคลทั่วไป
Class E: เป็นการสำรองหมายเลข IP Address ช่วง 240.0.0.0-255.255.255.255 สำหรับการทดสอบ และพัฒนา
OSI Model 7 Layer
By : Illyasviel von Einzbern
OSI Model 7 Layer
OSI Model
OSI Model เป็น medel มาตรฐานในการสื่อสารซึ่งมีวัตถุประสงค์ ใช้สำหรับการสื่อสารระหว่างระบบ 2 ระบบ ระบบจะเปิดการติดต่อสื่อสารในเค้าโครงสำหรับออกแบบ
ระบบเครื่อข่าย จะอนุญาตให้สื่อสารข้ามทุกรูปแบบของระบบคอมพิวเตอร์แยกเป็น 7 ชั้นแต่เกี่ยวเนื่องกันและเป็นรูปแบบมาตรฐาน ISO
OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer
1.Physical Layer
2.Data link Layer
3.Network Layer
4.Transport Layer
5.Sesion Layer
6.Presentation Layer
7.Application Layer
ทั้ง 7 สามารถแบ่งออกได้ 3 กลุ่มย่อย
กลุ่มที่ 1 Network support layer ได้แก่ Layer 1, 2, 3
กลุ่มที่ 2 Link ระหว่าง Network support layer กับ user support layer ได้แก่ layer 4
กลุ่มที่ 3 User support layer ได้แก่ layer 5, 6, 7
Functions of The Layers
Physical Layer
ชั้นสุดท้ายเป็นชั้นของสื่อที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งอาจจะเป็นทั้งแบบที่ใช้สายหรือไม่ใช้สาย ตัวอย่างของสื่อที่ใช้ได้แก่ Shield Twisted Pair(STP), Unshield Twisted Pair(UTP), Fibre Optic และอื่นๆ
-Physical ติดต่อระหว่างผู้รับ
-การส่งต่อข้อมูล
-สื่อกลาง & สัญญาณ
-เครื่องมือการติดต่อ
Data link layer
ชั้นนี้จัดเตรียมข้อมูลที่จะส่งผ่านไปบนสื่อตัวกลาง
-ควบคุมการส่งข้อมูลบน Physical link
-ดูที่อยู่บนเครือข่าย Physical
-Framing
-ควบคุมให้เท่ากัน
-ควบคุมการผิดพลาด (Error)
-Synchronization ให้ผู้ส่งกับผู้รับใช้เวลาเดียวกันในส่งข้อมูล
-ควบคุมการใช้สายสื่อสาร
Network layer
ชั้นที่สามจะจัดการการติดต่อสื่อสารข้ามเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะเป็นการทำงานติดต่อข้ามเน็ตเวิร์คแทนชั้นอื่นๆที่อยู่ข้างบน
-รับผิดชอบในการหาเส้นทางให้ส่งข้อมูลจากต้นทางไปปลายทาง
-Switching & Routing
-หาที่อยู่อย่างมีเหตุผล
-ไม่ต้องใช้ Technology ชั้นสูง
-ไม่ต้องใช้สายโดยตรง
Transport layer
ชั้นนี้ทำหน้าที่ดูแลจัดการเรื่องของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร ซึ่งการตรวจสอบความผิดพลาดนั้นจะพิจารณาจากข้อมูลส่วนที่เรียกว่า checksum และอาจมีการแก้ไขข้อผิดพลาดนั้นๆ โดยพิจารณาจาก ฝั่งต้นทางกับฝั่งปลายทาง (End-to-end)โดยหลักๆแล้วชั้นนี้จะอาศัยการพิจารณาจาก พอร์ต (Port)ของเครื่องต้นทางและปลายทาง
-ควบคุมการส่งข้อมูลจาก ต้นทางไปยังปลายทางข้อมูลใน Layer นี้เรียกว่า " package "
เหมือนกัน ใช้ port address
-Segmentation & Reassembly
-ส่งไปเป็นลำดับ Segment Number
-ควบคุมการติดต่อ
-Flow Control
-Eroor Control
-คุณภาพการบริการ (QoS)
Session layer
ชั้นที่ห้านี้ทำหน้าที่ในการจัดการกับเซสชั่นของโปรแกรม ชั้นนี้เองที่ทำให้ในหนึ่งโปรแกรมยกตัวอย่างเช่น โปรแกรมค้นดูเว็บ(Web browser)สามารถทำงานติดต่ออินเทอร์เน็ตได้พร้อมๆกันหลายหน้าต่าง
-ทำงานเกี่ยวกับการควบคุม dialog เช่น การเชื่อมต่อ บำรุงรักษา และ ปรับการรับ และส่งข้อมูลให้มีค่าตรงกัน
-ทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนด Synchronizationเปิดและปิดการสนทนา ควบคุมดูแลระหว่างการสนทนา
-Grouping คือ ข้อมูลประเภทเดียวกันจะจับกลุ่มไว้ใน Group เดียวกัน
-Recovery คือ การกู้กลับข้อมูล
Presentation layer
ชั้นที่หกเป็นชั้นที่รับผิดชอบเรื่องรูปแบบของการแสดงผลเพื่อโปรแกรมต่างๆที่ใช้งานระบบเครือข่ายทำให้ทราบว่าข้อมูลที่ได้เป็นประเภทใด เช่น [รูปภาพ,เอกสาร,ไฟล์วีดีโอ]
-เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างและการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่าง 2 ระบบ
-Data Fromats และ Encoding
-การบีบอัดข้อมูล (Data Compression)
-Encryption - การเข้ารหัส Compression - การบีบ และอัดข้อมูล
-Security - ควบคุมการ log in ด้วย Code, password
Application layer
ชั้นที่เจ็ดเป็นชั้นที่อยู่ใกล้ผู้ใช้มากที่สุดและเป็นชั้นที่ทำงานส่งและรับข้อมูลโดยตรงกับผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น ซอร์ฟแวร์โปรแกรม ต่างๆที่อาศัยอยู่บนเลเยอร์นี้ เช่น DNS,HTTP,Browser เป็นต้น
-เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเข้าไปช่วยในการบริการ เช่น e-mail , ควบคุมการส่งข้อมูล , การแบ่งข้อมูล
เป็นต้นยอมให้ user, software ใช้ข้อมูลส่วนนี้เตรียม user interface และ Support service ต่าง ๆ
เช่น E-mail
-ทำ Network virtual Terminal ยอมให้ User ใช้งานระยะไกลได้
-File transfer , access และ Management (FTAM)
-Mail services
-Directory service คือการให้บริการด้าน Data Base
วิธีการเข้าหัวสายแลน (RJ-45)
By : Illyasviel von Einzbern
วิธีการเข้าสาย UTP กับขั้ว RJ45
1. นำสาย UTP มาปอกฉนวนหุ้มที่ปลายสายทั้งสองด้านยาวประมาณ 3 ซ.ม. เมื่อปอกแล้วจะพบเห็นสายอยู่ 4 คู่บิดเป็นเกลี่ยวแยกสีไว้ชํดเจน
2. คลายเกลียวที่สายออก แล้วแรียงสายตามสีที่กำหนด แบ่งการเชื่อมต่อสายสัญญาณได้2วิธี
1.การเข้าหัวแบบสายตรง ( Straight-through cable EIA/TIA 568B )
2.การเข้าหัวแบบสายไขว้ ( Crossover cable EIA/TIA 568A & 568B )
4. เสียบสาย UTP ที่ตัดและเรียงสีไว้แล้ว เข้าไปในขั้ว่ RJ45 โดยให้หมายเลขสายที่เรากำหนดไว้ตามขั้นตอนที่1และ2ตรงกับหมายเลขขั้ว RJ45
5. เสียบขั้ว RJ45 เข้าไปในร่องคีม ดันสาย UTP ให้สนิทอีกครั้ง แล้วใช้มือบีบด้ามคีมให้แน่น โลหะทองเหลืองของขั้ว RJ45จะเข้าไปสัมผัสกับสายทองแดง ข้อควรระวัง การดึงหัวRJ45 ออกจากคีม
ให้ใช้มือบีบหางพลาสติกสำหรับสำหรับล็อกก่อน
สร้าง Connection LAN และแชร์ไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์
By : Illyasviel von Einzbernขั้นตอนการสร้างเครือข่ายเชื่อมต่อภายในพื้นที่ระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องโดยใช้ Windows XP
1 เสียบปลายด้านหนึ่งของสาย เคเบิลอีเธอร์เน็ตพอร์ต Ethernet ของ Computer1 ปลายสายอีกด้านให้เสียบที่ Ethernet พอร์ต Ethernet ของ computer
2 ให้เครื่องใดเครื่องหนึ่ง คลิกเมนู Start ให้คลิกขวาที่ "My Computer" และเลือก "Properties" ตามรูป
3.ไปที่แท็บ “Computer Name” ตามรูปด้านล่าง
4 คลิก “Change” และป้อนชื่อ Workgroup เป็นคำเฉพาะที่จะใช้ตั้งค่าชื่อกลุ่ม ของเครื่อข่ายที่จะใช้ร่วมกัน
5 คลิก"OK" จากนั้นทำขั้นตอนต่าง ๆ เหมือนกันกับ คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่ต่อร่วมกัน โดยที่ ชื่อ
Workgroup ในขั้นตอนที่ 4 จะต้องเหมือนกัน
6 เมื่อคอมพิวเตอร์ทั้งสองจะถูกกำหนดชื่อ Workgroup เ
ดียวกันและสายเคเบิลอีเทอร์เน็ตมีการเชื่อมต่อกันแล้วให้เรารีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่อง
7 หลังจากรีบูตเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองจะตรวจสอบการตั้งค่าเวิร์กกรุ๊ปโดยอัตโนมัติและตอนนี้คุณพร้
อมที่จะแลกเปลี่ยนไฟล์โฟลเดอร์และเอกสารในคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่อข่าย LAN แล้ว
แบ่งปันไฟล์ในเครือข่าย LAN
ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์สองเครื่องเชื่อมต่อในเครือข่
าย LAN
1 คัดลอกแฟ้มหรือโฟลเดอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใดเครื่องหนึ่ง จากนั้นคลิกที่ "Network"จากเมนู
Start หากคอมพิวเตอร์ของคุณเป็น Windows XP คลิกที่ “My Network places” จากเมนู Start
2 ในหน้าต่างเครือข่ายคุณจะเห็นไอคอนโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกัน shared folder ตามรูปด้านล่าง
1 เสียบปลายด้านหนึ่งของสาย เคเบิลอีเธอร์เน็ตพอร์ต Ethernet ของ Computer1 ปลายสายอีกด้านให้เสียบที่ Ethernet พอร์ต Ethernet ของ computer
2 ให้เครื่องใดเครื่องหนึ่ง คลิกเมนู Start ให้คลิกขวาที่ "My Computer" และเลือก "Properties" ตามรูป
3.ไปที่แท็บ “Computer Name” ตามรูปด้านล่าง
4 คลิก “Change” และป้อนชื่อ Workgroup เป็นคำเฉพาะที่จะใช้ตั้งค่าชื่อกลุ่ม ของเครื่อข่ายที่จะใช้ร่วมกัน
5 คลิก"OK" จากนั้นทำขั้นตอนต่าง ๆ เหมือนกันกับ คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่ต่อร่วมกัน โดยที่ ชื่อ
Workgroup ในขั้นตอนที่ 4 จะต้องเหมือนกัน
6 เมื่อคอมพิวเตอร์ทั้งสองจะถูกกำหนดชื่อ Workgroup เ
ดียวกันและสายเคเบิลอีเทอร์เน็ตมีการเชื่อมต่อกันแล้วให้เรารีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่อง
7 หลังจากรีบูตเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองจะตรวจสอบการตั้งค่าเวิร์กกรุ๊ปโดยอัตโนมัติและตอนนี้คุณพร้
อมที่จะแลกเปลี่ยนไฟล์โฟลเดอร์และเอกสารในคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่อข่าย LAN แล้ว
แบ่งปันไฟล์ในเครือข่าย LAN
ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์สองเครื่องเชื่อมต่อในเครือข่
าย LAN
1 คัดลอกแฟ้มหรือโฟลเดอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใดเครื่องหนึ่ง จากนั้นคลิกที่ "Network"จากเมนู
Start หากคอมพิวเตอร์ของคุณเป็น Windows XP คลิกที่ “My Network places” จากเมนู Start
2 ในหน้าต่างเครือข่ายคุณจะเห็นไอคอนโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกัน shared folder ตามรูปด้านล่าง
สัญลักษณ์บนระบบเครือข่าย
By : Illyasviel von Einzbern
Cisco Devices Icon
บทความนี้จะแนะนำถึงสัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้ในการแทนอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายของ Cisco ถือได้ว่าเป็นพื้นฐานในการศึกษาระบบเครือข่ายหรืออุปกรณ์ของ Cisco ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่กำลังศึกษาระบบเครือข่ายหรือกำลังเตรียมตัวสอบ Certificate Cisco
การแชร์ไฟล์ Window xp
By : Illyasviel von Einzbernขั้นตอนการแชร์ไฟล์
1. ตัวอย่างนี้ผมต้องการแชร์โฟลเดอร์ให้คลิกขวา เลือก Sharing and Security...
2. เลือกแชร์ตามความ ต้องการ โดยติ๊กถูกหน้า Share this folder on the network
6.ให้คลิกที่แท็บ Support ก็จะเห็น IP Address : ก็แจ้งเลข ip นี้ให้ผู้ร่วมงานเข้ามาเอาข้อมูลที่เราได้แชร์ไว้
1. ตัวอย่างนี้ผมต้องการแชร์โฟลเดอร์ให้คลิกขวา เลือก Sharing and Security...
2. เลือกแชร์ตามความ ต้องการ โดยติ๊กถูกหน้า Share this folder on the network
3.จะพบว่าโฟลเดอร์
Data ที่ได้แชร์ไว้จะเป็นรูปไอคอนแชร์หรือรูปมือแชร์เพิ่มเข้ามาครับ
4.ต่อไปก็บอกชื่อเครื่องเราให้เพื่อน หรือจะบอกเป็นเลข ip ก็ได้ สังเกตุรูปไอคอนคอมพิวเตอร์ไวเลส
5.คลิกเมาส์ขวา ที่ไอคอน คอมพิวเตอร์คู่ที่กระพริบอยู่ เลือก Status
7.หรือจะแจ้งเป็นชื่อเครื่องให้เพื่อนร่วมงานก็ได้ ไม่ต้องจำเลข ip สามารถทำเช่นเดียวกัน แต่ชื่อเครื่อง ตั้งง่าย ๆ หน่อยละกัน โดยคลิกเมาส์ขวาที่ My Computer เลือก Properties
8.คลิกแท็บ Computer Name จะเห็นชื่อเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ (หากตั้งชื่อยากไปก็สามารถแก้ไขใหม่ได้ โดยคลิกปุ่ม Change... แล้วไปเปลี่ยนชื่อใหม่เอานะครับ)
สายแลน
By : Illyasviel von Einzbern
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
รูปแสดงสายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จำนวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย
- เขียว - ขาวเขียว
- ส้ม - ขาวส้ม
- น้ำเงิน - ขาวน้ำเงิน
- น้ำตาล - ขาวน้ำตาล
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กำหนด สำหรับสายประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มีจำนวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
ข้อดีของสาย UTP- ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้ำหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้ำหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก
ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
สายสัญญาณ STP มีการนำสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณรบกวนเพื่อทำให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบั่นทอนครอสทอร์ก
ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
- ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ
ข้อเสียของสาย STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
- ราคาแพงกว่าสาย UTP